วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

รายงานการวิจัย แนวทางการจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนตามนโยบายประเทศไทย ๔.๐


รายงานการวิจัย แนวทางการจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนตามนโยบายประเทศไทย ๔.๐ ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

บทสรุปส าหรับผู้บริหาร สภาวการณ๑การเปลี่ยนแปลงของโลกและประเทศไทยในการเปลี่ยนผํานชํวงศตวรรษที่ ๒๐ สูํศตวรรษ ที่ ๒๑เป็นป๓จจัยทั้งภายนอกและภายในที่สําคัญซึ่งเป็นแรงขับเคลื่อนและผลักดันให๎มีการปฏิรูปประเทศไทยใน ทุกด๎าน ซึ่งเป็นที่มาและกํอให๎เกิด”นโยบายประเทศไทย ๔.๐”ซึ่งเป็นโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่ ต๎องการปรับเปลี่ยนประเทศไทยไปสูํประเทศไทย ๔.๐ ซึ่งหัวใจสําคัญของการขับเคลื่อนประเทศตามนโยบาย” Thailand ๔.๐”ให๎สําเร็จได๎นั้นคําตอบคือ”การศึกษา”เพราะการศึกษาเป็นเครื่องมือสําคัญการสร๎างคน สร๎าง สังคม สร๎างชาติ เป็นกลไกหลักในการพัฒนากําลังคนให๎มีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตอยูํรํวมกับบุคคลอื่นใน สังคมได๎อยํางเป็นสุขในกระแสการเปลี่ยนแปลงอยํางรวดเร็วของโลกในศตวรรษที่๒๑ ”การศึกษาทางเลือก(Alternative Education)”เป็นระบบการจัดการศึกษาทางเลือกของภาคสังคมที่ รัฐบาลได๎กระจายอํานาจไปให๎สถาบันสังคม ได๎แกํ บุคคล ครอบครัว องค๑กรชุมชน องค๑กรเอกชน องค๑กร วิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันศาสนา มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานได๎ ซึ่งกฎหมายได๎รับรองไว๎ทั้ง ในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย ประกาศ และคําสั่งตํางๆในทุกระดับ โดยมีพัฒนาการ ประสบการณ๑ บทเรียน และ ผลงานมายาวนานไมํน๎อยกวํา ๓๗ ปี จุดเดํนที่สําคัญของการจัดการศึกษาทางเลือกของสถาบันสังคมที่ถือได๎วํา มีคณูปการตํอเด็กและการศึกษาไทย คือการจัดการศึกษาให๎กับกลุํมเด็กที่เรียกวํา”กลุํมเปูาหมายเฉพาะ”ตาม ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ๑และแนวทางการปรับใช๎หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ สําหรับกลุํมเปูาหมายเฉพาะ เชํน กลุํมเด็กด๎อยโอกาส ยากไร๎ เด็กนอกระบบ เด็กชาติ พันธุ๑ชนเผําพื้นเมือง เด็กชุมชนบนพื้นที่สูง ไร๎สัญชาติ กําพร๎า เด็กกลุํมเสี่ยงที่จะถูกละเมิดสิทธิ ถูกกระทํา ความรุนแรง เด็กพิการ ตลอดจนถึง เด็กที่มีความสามารถพิเศษ ตํางๆด๎วย ดังนั้น การศึกษาทางเลือกของ สถาบันสังคม จึงเป็นอีก”ลูํ”หนึ่งของระบบการศึกษาไทยที่จะเข๎ามาชํวยเติมเต็มในการขับเคลื่อนการศึกษา ไทยที่จะสร๎างและพัฒนาคนในการขับเคลื่อนนโยบายประเทศไทย ๔.๐ ให๎สําเร็จและเป็นจริงได๎โดยไมํทอดทิ้ง ใครไว๎ข๎างหลังในการก๎าวสูํโลกและประเทศไทย ๔.๐ งานวิจัยฉบับนี้ได๎ลงพื้นที่ทําการสํารวจข๎อมูล สภาพจริง สังเกต สัมภาษณ๑ จัดประชุมสนทนากลุํม ให๎คําแนะนํา แลกเปลี่ยนเรียนรู๎ ทดลอง ปฏิบัติ สรุปวิเคราะห๑ สังเคราะห๑อยํางมีสํวนรํวมกับผู๎เกี่ยวข๎อง ของศูนย๑การเรียนทางเลือกของสถาบันสังคม ๓ ประเภท ๕ กรณีศึกษา คือ ประเภทองค์กรชุมชน ศูนย๑การเรียนหญ๎าแพรกสาละวิน อ.สบเมย จ.แมํฮํองสอน ศูนย๑การเรียนโจ๏ะมาโลลือหลํา อ.สะเมิง จ.เชียงใหมํ ศูนย๑การเรียนชุมชนวิถีไท อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช ประเภท องค์กรเอกชน ศูนย๑การเรียนมัธยมหมูํบ๎านเด็ก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ประเภท บุคคล ศูนย๑การเรียนชีวิตธรรมชาติภูเก็ต อ.เมือง จ.ภูเก็ต